วันจันทร์ที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2556

องค์การระหว่างประเทศ
(International Organization: IO)


บทนำ
สภาพบุคคลของ IO
ความสามารถของ IO
ความรับผิดของ IO
บทส่งท้าย


ความหมาย
  องค์การระหว่างประเทศ  คือ  องคภาวะ (entity) ซึ่งก่อตั้งขึ้นโดยความตกลงระหว่างรัฐที่เรียกว่า องค์การระหว่างรัฐบาล (inter-governmental organization) หรือองค์การระหว่างประเทศระดับรัฐ (public international organization)  มีกลไกในรูปขององค์กรที่ทำหน้าที่ให้บรรลุถึงวัตถุประสงค์ร่วมโดยมีการดำเนินการต่าง ๆ เป็นประจำสม่ำเสมอ
 
องค์การระหว่างประเทศก่อตั้งขึ้นกลางศตวรรษที่  19 -- สหภาพ
ไปรษณีย์สากล
 
รัฐ
ยอมจำกัดอำนาจของตนเองลงในการก่อตั้งองค์การ
 
ระหว่างประเทศเพื่อเป็นกรอบความร่วม
 
มือระหว่างรัฐ
 
การก่อตั้งอาจกระทำโดยสนธิสัญญาพหุภาคี โดย
 
จัดทำเป็นตราสารก่อตั้งองค์การระหว่างประเทศ 
 
หรือกระทำโดยข้อมติของที่ประชุมระหว่างประเทศ
 
ประเภทขององค์การระหว่างประเทศ
 
1. แบ่งตามภูมิศาสตร์ระดับสากล ระดับภูมิภาค 

2. แบ่งตามลักษณะของงาน เพื่อการบริหารระหว่าง
ประเทศ เพื่อความร่วมมือทั่วไป
3. แบ่งตามจุดมุ่งหมาย ด้านการทหาร เศรษฐกิจ
4. แบ่งตามอำนาจ มีอำนาจเหนือรัฐ  (supranational 
organization) และไม่มีอำนาจเหนือรัฐ

2. สภาพบุคคลของ IO 

(Legal Personality of IO)
กำหนดความสามารถของ IO ใช้สิทธิใน
 
ทางระหว่างประเทศ หน้าที่ในการปฏิบัติ
 
ตามพันธกรณีระหว่างประเทศและความรับ
 
ผิดในทางระหว่างประเทศเช่นเดียวกับรัฐ
 
แตกต่างจากสภาพบุคคลของรัฐ
 
หลักประกันความเป็นอิสระของ IO จากรัฐ
 
 
สภาพบุคคลของ IO อาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ 
 
สภาพบุคคลตามกฎหมายภายในของรัฐ
 
สมาชิก และ
สภาพบุคคลตามกฎหมายระหว่างประเทศ
 
2.1 สภาพบุคคลตามกฎหมายภายใน

ของรัฐสมาชิก

สำนักงานในรัฐ
 

-
ก่อนิติสัมพันธ์ตามกฎหมายภายใน

-
ความสามารถตามกฎหมายภายใน
การมีสภาพบุคคลตามกฎหมายภาย
 
ในขึ้นกับ
-  สนธิสัญญาก่อตั้ง
IO ที่ระบุไว้
 
 ชัดเจน
-  กฎหมายภายใน
ของรัฐ
 
 
องค์การสหประชาชาติจักได้รับ
 
เอกสิทธิ์และความคุ้มกันเท่าที่จำ
 
เป็นเพื่อการปฎิบัติภารกิจให้บรรลุ
 
 วัตถุประสงค์ภายในดินแดนของ
 
รัฐสมาชิก
 
 
กฎหมายภายใน

พระราชบัญญัติคุ้มครองการ
 
ดำเนินงานของสหประชาชาติ
 
และทบวงการชำนัญพิเศษใน
 
ประเทศไทย พ.ศ. 2504
 
  - มาตรา 4(1)
  - มาตรา 5(1)
องค์กรพิเศษ (subsidiary 
 
organs)

- เกิดจากการสถาปนาโดย
UN

ทบวงการชำนัญพิเศษ 
 
 (specialized agencies)- มีสนธิ
 
สัญญาก่อตั้งเอง

-
FAO, UNESCO, WHO, 
 
ILO, ICAO
โดยทั่วไป สภาพบุคคลของ IO  จะผูกพัน
เฉพาะรัฐสมาชิก ยันรัฐที่ไม่ใช่สมาชิกไม่ได้  
 
 ข้อยเว้น 
 
รัฐสมาชิกรับรองสภาพบุคคล ของ IO นั้นในรัฐ
ของตนเป็น กรณีๆไป


 ประเด็นสำคัญ

1.สภาพบุคคลของ IO มาจาก
วัตถุประสงค์ (objectives) และลักษณะหน้าที่ 
 (functions) ของ  IO
  - implied power or competence สภาพ
บุคคลโดยนัย
 
  - สภาพบุคคลที่ได้มาจากอำนาจหน้าที่ 
 (functional personality)

 
2.สภาพบุคคลของ UN สามารถยกขึ้นกล่าวอ้าง
ไดกับทุกรัฐในประชาคมระหว่างประเทศ 
- erga omnes
 
3. ความสามารถของ UN ในการเรียกร้องค่าสิน
ไหม       
 สำหรับความเสียหายที่เกิดขึ้นกับเจ้าหน้าที่ของ 
 UN
  - functional protection

  - ต่างจาก diplomatic protection 
 
 ข้อสังเกต
1)มีสนธิสัญญาก่อตั้งที่ระบุโดย
ชัดเจนถึงสภาพบุคคลตามกฎหมายระหว่าง
ประเทศของ IO นั้นๆ หรือไม่
 
2)     ถ้าไม่มี อาจพิจารณาจาก
 
  2.1) ลักษณะขององค์การระหว่างประเทศนั้น
ต้องเกิดขึ้นโดยความตกลงระหว่างรัฐเพื่อก่อตั้งเป็น
สมาคมของรัฐอย่างถาวร
 
2.2) มีโครงสร้างประกอบด้วยองค์กรย่อยต่างๆ ที่
จะดำเนินภารกิจขององค์การระหว่างประเทศ

  2.3) ความเป็นอิสระในการดำเนินการของ IO 
 นั้นๆ มีวัตถุประสงค์ อำนาจตามกฎหมายและการ
ปฏิบัติหน้าที่ ในระดับระหว่างประเทศโดยแยก
ต่างหากจากรัฐสมาชิก

2.4)  IO ต้องสามารถใช้สิทธิและปฏิบัติหน้าที่ได้
จริงในประชาคมระหว่างประเทศ มิใช่เพียงภาย
ในระบบกฎหมายภายในของรัฐหนึ่งหรือหลายรัฐ
—มีความสามารถแท้จริงที่จะเกิดสภาพบุคคล
ตามกฎหมายระหว่างประเทศ
3)  นำหลักจาก AO : Reparation for Injuries
 Suffered in  the Service of the United 
Nations 1949 ไปใช้กับ IO อื่นได้ด้วย 
 
4)  ขอบเขตของสภาพบุคคลของ 

 IO แตกต่างกันไปตามความมุ่ง
หมายและหน้าที่ที่บัญญัติในสนธิ
สัญญาก่อตั้งทั้งโดยเฉพาะเจาะจง
 หรือโดยปริยาย
5)  การมีสภาพบุคคลของ IO ไม่ได้ทำให้ IO 
 สามารถหลุดพ้นจากความมีเอกสิทธิของรัฐได้
อย่างสิ้นเชิง
 
 
3. ความสามารถขององค์การระหว่างประเทตาม
กฎหมายระหว่างประเทศ
 
 
3.1 ความสามารถในการทำสนธิสัญญา
เป็นคุณสมบัติที่สำคัญที่สุดของสภาพบุคคล
 อย่างไรก็ตาม การมีสภาพบุคคลมิได้หมาย
ความว่า IO จะมีความสามารถในการทำสนธิ
สัญญา
ความสามารถในการทำสัญญาพิจารณา
จาก:
1.ข้อกำหนดในสนธิสัญญาก่อตั้ง  
      เช่น UN Charter ไม่มีบทบัญญัติทั่ว
ไป แต่กำหนดให้ทำความตกลงที่เกี่ยว
ข้องกับทบวงการชำนัญพิเศษได้ ความ
ตกลงระหว่าง SC กับรัฐสมาชิกในการ
ปฏิการทางทหารตามมติ SC
 
2.อำนาจโดยปริยาย (Implied power) 

-  ความตกลงจัดตั้งสำนักงานใหญ่

-  ความ
ตกลงว่าด้วยความร่วมมือกับ
 IO อื่น
3. การตีความตราสารก่อตั้งและทางปฏิบัติ
อง IO ในเวลาต่อมา
  
หลักเกณฑ์ในการทำสนธิสัญญาของ IO
 
อนุสัญญากรุงเจนีวาว่าด้วยกฎหมาย
สนธิสัญญาระหว่างองค์การระหว่าง
ประเทศกับรัฐ หรือระหว่างองค์การ
ระหว่างประเทศด้วยกัน ค.ศ.1986 
 
(
Vienna Convention on the Law 
of Treaties between States and 
International Organizations or 
between International 
Organizations 1986
 
- ข้อ 6
  ความสามารถขององค์การระหว่าง
ประเทศในการทำสนธิสัญญานั้นอยู่
ภายใต้หลักเกณฑ์ขององค์การ
 ระหว่างประเทศนั้นๆ  
 
 
3.2 ความสามารถในการใช้สิทธิเรียกร้อง
ระหว่างประเทศ
การมีอยู่ของสภาพบุคคลตามกฎหมาย
ระหว่างประเทศทำให้ IO มีสิทธิที่จะเรียก
ร้องให้ได้รับการเยียวยาต่อความเสียหาย
ที่ได้รับ โดยเป็นไปตามเงื่อนไขของตรา
สารก่อตั้ง
Reparation Case 

  - UN
เป็นบุคคลตามกฎหมาย
ระหว่างประเทศมีสิทธิเรียกร้องทั้งต่อรัฐ
ทั้งหลายเพื่อความเสียหายที่เกิดขึ้นกับ 
 UN โดยตรง
 

3.3 ความสามารถคุ้มครอง
 เจ้าหน้าที่หรือตัวแทนของ IO

Reparation Case –UN สามารถอ้าง
การให้ความคุ้มครองในทางหน้าที่ 
(functional protection) ในการใช้สิทธิ
เรียกร้องเพื่อเยียวยาความเสียหาย
 
IO อื่น ต้องพิจารณาภาระหน้าที่ รวมถึง
 การรักษาความสงบของประชาคมโลก
หรือไม่
3.4 ความสามารถในการสร้างความ
สัมพันธ์ทางการทูต

ความสัมพันธ์แบบ Passive 
 
- รัฐ
ส่งคณะผู้แทนถาวร 
(permanent  missions)  
ไปยัง IO

-
ผู้แทนทางการทูต โดยปกติได้รับ
เอกสิทธิ์และความคุ้มกันอย่างทูต 
3.6 ความสามารถในการมีงบประมาณ
ของตนเอง
ความมีอิสระทางการเงินจากประเทศ
สมาชิกเป็นหลักประกันที่ดีที่สุดต่อ
การปฏิบัติงานของ IO
รายรับ - เงินอุดหนุนจากรัฐสมาชิก
ตามสัดส่วนในตราสารก่อตั้ง
 (ประเภทบังคับ/สมัครใจ)
 
 
4. ความรับผิดขององค์การระหว่าง
ประเทศ 
 
4.1 ความรับผิดขององค์การระหว่าง
ประเทศตามกฎหมาย ภายใน
 
อนุสัญญาว่าด้วยเอกสิทธิ์และความ
คุ้มกันขององค์การสหประชาชาติ 
 1946
อนุสัญญาว่าด้วยเอกสิทธิ์และความ
คุ้มกันของทบวงการชำนัญ
พิเศษ1947
ได้รับความคุ้มกันจากการดำเนินการ
ทางกฎหมายทุกรูปแบบ
ข้อยกเว้น : หากเป็น IO ที่มีวัตถุ
ประสงค์เจาะจงและมีรัฐสมาชิก
น้อย อาจต้องอาศัยความรับผิด
ร่วมกันของรัฐสมาชิกโดยมี
กฎหมายกำหนดไว้ชัดเจน
 
ในทางปฏิบัติ IO มีข้อตกลงกับ
ประเทศที่เป็นที่ตั้งของที่ทำการ 
 IO เกี่ยวกับการระงับข้อพิพาทใน
กรณีเกิดความเสียหายจากการ
ปฏิบัติงานของ IO ในดินแดน
ของรัฐนั้น
 
 
 
ปัจเจกชน (Individuals
 
ปัจจุบัน

  ปัจเจกชนเข้ามาเกี่ยวข้องกับ
กฎหมายระหว่างประเทศมากขึ้น ได้
รับการยอมรับให้มีสิทธิหน้าที่ความรับ
ผิดบางประการตามกฎหมายระหว่าง
ประเทศโดยตรง มีการพัฒนากลไก
หรือกระบวนการพิจารณาทางระหว่าง
ประเทศ ในการส่งเสริมการยอมรับ
สิทธิมนุษยชน
 
 
บรรษัทข้ามชาติ  
มีบทบาทในทางระหว่างประเทศ
มากในปัจจุบัน
เกิดจากการก่อตั้งบริษัทขึ้นตาม
กฎหมายภายในของรัฐหนึ่ง ต่อ
มาได้ขยายกิจการออกไปยังรัฐ
อื่นๆ โดยอาจดำเนินธุรกิจกับ
บริษัทเอกชน รัฐ หรือ IO
กรณีมีข้อพิพาทระหว่างบรรษัท
ข้ามชาติและรัฐบาล
สถานะของบรรษัทข้ามชาติตาม
กฎหมายระหว่างประเทศ 
บุคคลตามกฎหมายระหว่าง
ประเทศที่ได้รับการยอมรับว่า
มีสภาพบุคคลตามกฎหมาย
ระหว่างประเทศ มีสิทธิหน้าที่
และความรับผิดโดยตรงตาม
กฎหมายระหว่างประเทศ 
ได้แก่ รัฐ และองค์การระหว่าง
ประเทศที่เกิดจากความตกลง
ของรัฐเท่านั้น
ปัจเจกชนและบรรษัทข้าม
ชาติยังไม่ถือว่ามีสภาพบุคคล
โดยตรงตามกฎหมายระหว่าง
ประเทศ การใช้สิทธิตาม
กฎหมายระหว่างประเทศ
ของปัจเจกชนยังถูกจำกัด
โดยอนุสัญญา